หน้าหลัก โครงสร้างการบริหารและบุคลากร ดาวน์โหลดระเบียบ/แบบฟอร์ม เฉพาะนักวิจัยของศูนย์
 
โครงการวิจัยใหญ่ :: โครงการวิจัยบูรณาการเพื่อพัฒนาศักยภาพในการวินิจฉัย การรักษา และการป้องกันโรคเอดส์
  โครงการวิจัยย่อยมี 25 โครงการ ดังนี้
พันธุกรรม ของผู้ป่วยต่อความเป็นพิษของยาต้านไวรัส บทบาทของนิวทราไลซิ่งแอนติบอดี และการพัฒนาเทคนิคการตรวจหา Small Dense LDL และพัฒนาการตรวจวัด HIV-1 co-receptor
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา ศิริรังษี
ปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับการก่อโรค แมนโนโปรตีนแอนติเจน และการตรวจวินิจฉัยเชื้อราชนิดฉวยโอกาสเพนนิซิเลี่ยมมาร์เนฟฟิไอในกลุ่มผู้ ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวี
ศาสตราจารย์นงนุช วณิตย์ธนาคม
บทบาทของ NK cell และ NK cell receptors ในผู้ที่ติดเชื้อ HIV-1 ที่ได้รับยาต้านไวรัส
อาจารย์ดร.หทัยรัตน์ ธนัญชัย
การศึกษา แบบสุ่มเพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อวัคซีนไวรัส ตับอักเสบบีโดยการเพิ่มขนาดและความถี่ในการฉีดวัคซีนในผู้ใหญ่ที่ติดเชื้อเอ ชไอวี
ศาสตราจารย์ขวัญชัย ศุภรัตน์ภิญโญ
ประชากร ย่อยเม็ดเลือดขาวชนิดทีเซลล์และการผลิตทีเซลล์จากไธมัสในผู้ที่ติดเชื้อเอ ชไอวีภายหลังได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส
ดวงนภา กิ่งแก้ว
การสร้างวิธีการตรวจเชื้อไวรัสดื้อยาต้านโดยการใช้โพรบจำเพาะ
ดร.อุทัยวรรณ อุทัยพัฒน์
การสร้างเชื้อไวรัสเอชไอวีรูปแบบเทียมเพื่อใช้ในงานวิจัยและทางคลีนิก
นักวิจัยดร.อุทัยวรรณ อุทัยพัฒน์
การศึกษา เปรียบเทียบระดับของแอนติบอดีต่อสารอินเตอร์ฟีรอน แกมมา (interferon-gamma) และการทำงานของภูมิคุ้มกันระบบเซลล์ในผู้ป่วยเอดส์ ผู้ป่วยที่มีภาวการณ์ติดเชื้อโรคในเซลล์ (intracellular organism) และผู้ที่มีภูมิคุ้มกันปกติ
ศาสตราจารย์ขวัญชัย ศุภรัตน์ภิญโญ
การตรวจระดับยาต้านไวรัสในเลือดของผู้ป่วยโรคเอดส์
  ศาสตราจารย์ธีระ ศิริสันธนะ
ภาวะดื้อ ต่ออินซูลิน ระดับ leptin adiponectin และ lipid profile ในผู้ป่วยเด็ก HIV ที่ได้รับการรักษาด้วย Lopinavir
อาจารย์ประไพ เดชคำรณ
การพัฒนาและประสิทธิภาพของโปรแกรมการดูแลจัดการตนเองเชิงบวกสำหรับวัยหนุ่มสาวที่อยู่ร่วมกับเอชไอวีในประเทศไทย
รองศาสตราจารย์ เพณณินาท์ โอเบอร์ดอร์เฟอร์
โครงการพัฒนาฐานข้อมูลสำหรับแปลผลการดื้อยาสำหรับผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทย
อาจารย์นนทกานต์ นันทจิต
การศึกษา ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ A (H1N1) 2009 ชื่อการค้า PanenzaTM ในผู้ป่วยเด็กไทยที่ติดเชื้อเอชไอวี
อาจารย์ทวิติยา สุจริตรักษ์
ความผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี
อาจารย์วรรณวรางค์ วงศ์เจริญ การศึกษา
ความหนาแน่นมวลกระดูก ระดับวิตามินดีในเลือด และสารเคมีในเลือดที่เกี่ยวข้องกับกระดูกในเด็กติดเชื้อเอชไอวีที่รอดชีวิต หลังได้รับยาต้านไวรัสสูตรพื้นฐาน
อาจารย์ลินดา เอื้อไพบูลย์
การศึกษา แบบสังเกตุการณ์เพื่อติดตามความปลอดภัยและ ความสามารถในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันของวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ H1N1 ในผู้ป่วยติดเชื้อ เอช ไอ วี
ศาสตราจารย์ขวัญชัย ศุภรัตน์ภิญโญ
การศึกษา ประสิทธิผลของการรักษา ผลข้างเคียงจากการรักษาและการตอบสนองต่อการได้รับวัคซีนในผู้ป่วยติดเชื้อไว รัสเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัส
ผู้ช่วยศาสตราจารย์รมณีย์ ชัยวาฤทธิ์
โครงการ ศึกษาการให้บริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในทารกแรกเกิดเพื่อการ ป้องกันโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เกรียงไกร ศรีธนวิบุญชัย
โครงการเตรียมน้องก่อนเข้าเมือง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เกรียงไกร ศรีธนวิบุญชัย
การศึกษา นำร่องเรื่องการบริโภคอาหารในผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวี ในภาคเหนือ และศึกษาถึงผลของการบริโภคอาหารที่มีปริมาณคาร์โบไฮเดรตต่ำปานกลางต่อผลของ การเกิดความผิดปกติของรูปร่างและความผิดปกติของระดับน้ำตาลและไขมันในเลือด (lipodystrophy)
รองศาสตราจารย์อัมพิกา มังคละพฤกษ์
โครงการ วิจัยบูรณาการเพื่อพัฒนาศักยภาพในการป้องกันและการดูแลการติดเชื้อเอชไอ วี/โรคเอดส์และโรคติดเชื้อฉวยโอกาส: ต้นแบบสำหรับประเทศที่มีทรัพยากรจำกัด
รองศาสตราจารย์วารุณี ฟองแก้ว
โครงการ วิจัยเพื่อศึกษาระดับยาอีฟาวิเรนซ์ในเลือด ลักษณะทางเภสัชพันธุศาสตร์และความรุนแรงของกลุ่มอาการซึมเศร้าในคนไทยที่ติด เชื้อเอชไอวีซึ่งได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์สูตรอิฟาวิเรนซ์
อาจารย์ดร.แพทย์หญิงลินดา เอื้อไพบูลย์
ปัญหาอารมณ์จิตใจในเด็กวัยรุ่นที่ติดเชื้อเอชไอวีจากมารดาและได้รับยาต้านไวรัส
รองศาสตราจารย์อรวรรณ เลาห์เรณู
การพัฒนาชุดตรวจเพื่อการวินิจฉัยวัณโรค การจำแนกเชื้อวัณโรค และบ่งชี้เชื้อวัณโรคที่ดื้อยา
ศาสตราจารย์วัชระ กสิณฤกษ์ การพัฒนา
องค์ความรู้เพื่อผนวกวิธีการทางอิมมูโนวิทยาและการรักษาระดับยีนส์สำหรับ รักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีในรูปแบบใหม่ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าของสิทธิ์
รองศาสตราจารย์ชัชชัย ตะยาภิวัฒนา
   
 
สร้างเมื่อวันที่ 09/09/2009    
หากท่านมีปัญหาเกี่ยวกับลิขสิทธิ์กรุณาติดต่อ webmaster E-mail : ariya@rihes.org     
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ตู้ ปณ.80 ปท.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 50202    
โทรศัพท์ : 0 5394 5055 -8, 0 5394 2508 ต่อ 340 โทรสาร 0 5322 1849, 0 5389 2298