Completed Studies.


ชื่อโครงการวิจัย :การศึกษาระยะที่ 1/2 การศึกษาเพื่อการหาระดับยาที่เหมาะสมของยาฟลูโคนาโซล ระดับสูงในการรักษาผู้ติดเชื้อเอดส์ร่วมกับเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อคริปโตคอคคัส

Study name :A Phase I/II Dose-Finding Study of High-Dose Fluconazole Treatment in AIDS-Associated Cryptococcal Meningitis

เครือข่ายวิจัย (รหัสโครงการ) :A 5225

Research network (Code):A 5225

หัวหน้าโครงการวิจัย :ศ.นพ. ขวัญชัย ศุภรัตน์ภิญโญ

PI Professor Khuanchai Supparatpinyo, MD

หัวหน้าโครงการวิจัยร่วม : พญ. พัชรพรรณ สุคนธเวศ

Co-PI Dr. Patcharaphan Sugandhavesa

หน่วยงานที่ร่วมวิจัย Collaborators: เครือข่ายการวิจัยทางคลินิกด้านโรคเอดส์ (AIDS Clinical Trial Group :ACTG Network)

แหล่งทุน (Funding agency): สถาบันโรคภูมิแพ้และโรคติดเชื้อแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา (The National Institute of Allergy and Infectious Diseases :NIAID)

สถานที่ทำการวิจัย(รวมต่างประเทศ) ( Study site) : มี 11 หน่วยวิจัย จาก 9 ประเทศคือ ประเทศเคนยา อินเดีย อัฟริกาใต้ ยูกันดา แทนซาเนีย เปรู ซิมบับเว สหรัฐอเมริกา และประเทศไทย

ระยะเวลาเริ่มดำเนินงาน (เริ่ม intervention หรือ เริ่ม enroll อาสาสมัคร)( study start): เริ่มปิดโครงการ: เปิดรับอาสามัครเข้าร่วมโครงการ เมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2253 เป้าหมาย :ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีอายุ 18 ปีขึ้นไปที่มีการติดเชื้อเยื้อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อคริปดตคอคคัส ทั้งหมด 196 คน ( stage 1 96 คน และ 96 คน ใน stage 2) สำหรับหน่วยวิจัยวิทยาศษสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใมห่ รับจำนวน 20 คน

รูปแบบของงานวิจัย (study design): การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบ randomized ระยะที่ 1/2 dose escalation และ validation ด้านความปลอดภัย ความทนทานต่อยา และผลทางการรักษาโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อคริปโตคอคคัสในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ของ induction-consolidation ใน high-dose fluconazole เพียงอย่างเดียว เนื่องจาก การเปรียบเทียบข้อมูลจากการศึกษานี้กับข้อมูลที่มีอยู่สำหรับการรักษาโรค เยื้อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อคริปโตคอคคัสด้วยยานี้ในประเทศกำลังพัฒนามี จำกัด ดังนั้นในการออกแบบการศึกษาจึงนำ cohort treatment คือ การใช้ยาที่มี Amphotericin B มาเป็นส่วนหนึ่งในการวิจัยด้วย การวิจัยแบ่งเป็น 2 stage แยกจากการ คือ stage 1 และ stage 2 ในแต่ละ stage จะมีการดำเนินการเป็น 4 step

Stages 1 –Dose Escalation

Cohort N Induction Step (Step1) Daily Dose Induction Following Ampho B Intolerance Step (Step 2) Consolidation Step (Step 3) Daily Fluconazole Dose Maintenance Step (Step 4) Daily Fluconazole Dose
1A 24 Fluconazole 1200 mg N/A 400 mg Or 600 mg with RIF 200 mg
1B 8 Ampho B-based regimen; 0.7-1.0 mg/kg ampho B Fluconazole 400-800 mg daily 400 mg Or 600 mg with RIF 200 mg
2A 24 Fluconazole 1600 mg N/A 400 mg Or 600 mg with RIF 200 mg
2B 8 Ampho B-based regimen; 0.7-1.0 mg/kg ampho B Fluconazole 400-800 mg daily 400 mg Or 600 mg with RIF 200 mg
3A 24 Fluconazole 2000 mg N/A 400 mg Or 600 mg with RIF 200 mg
3B 8 Ampho B-based regimen; 0.7-1.0 mg/kg ampho B Fluconazole 400-800 mg daily 400 mg Or 600 mg with RIF 200 mg

Stage 2 Dose validation เมื่อได้ขนาดยาที่เหมาะสมจากขนาดที่ทนได้สูงสุด( Maximum tolerated dose) ใน stage 1 หรือสิ้นสุดการให้ยาในขนาด 2000 mg/day จะมีการทบทวนและวิเคราะห์ข้อมูลตลอด 10 สัปดาห์ของการรักษา หลังจากนั้นจะมีการปรับปรุงแก้ไขโครงการ (protocol amendment ) เพื่อเข้าสู่ stage 2 ดั งนี้

Cohort

N

Induction Step (Step1)

Daily Dose

Induction Following Ampho B Intolerance Step (Step 2) Daily Dose

Consolidation Step

(Step 3) Daily Fluconazole Dose

Maintenance Step (Step 4) Daily

Fluconazole Dose

4

≥ 24

Ampho B-based regimen; 0.7-1.0 mg/kg ampho B Fluconazole 400-800 mg daily 400 mg Or 600 mg with RIF

200 mg

5

24

Fluconazole TBD

N/A

400 mg Or 600 mg with RIF

200 mg

6

24

Fluconazole TBD

N/A

400 mg Or 600 mg with RIF

200 mg

7

24

Fluconazole TBD

N/A

400 mg Or 600 mg with RIF

200 mg

วัตถุประสงค์ของการวิจัย (วัตถุประสงค์หลัก รอง) (Study objectives)

1. วัตถุประสงค์หลัก

1.1. เพื่อประเมินขนาดที่ทนได้สูงสุด (maximum tolerated dose -MTD) ของยา fluconazole โดยเปรียบเทียบความปลอดภัยและ ความทนทานต่อยาในระยะ induction เมื่อให้ยา fluconazole ในขนาด 1,200 1,600 และ 2,000 mg/day1.2. เพื่อนำข้อมูลด้านความปลอดภัยและประสิทธิผลของของการใช้ยาfluconazole แบบ high Induction-dose

ที่ได้จากการศึกษานี้ไปพิจารณาตัดสินหาขนาดยาที่เหมาะสม สำหรับการพัฒนาเป็นโครงการวิจัยใน Phase II/III 2.วัตถุประสงค์รอง

2..1 เพื่อเปรียบเทียบผลทางคลินิคและผลต่อการฆ่าเชื้อราในการให้ยา fluconazoleในสูตรยาเริ่มต้นต่างกัน ที่สัปดาห์ที่

2, 4, 6, 8 และ10

2.2. เพื่อประเมินสภาพร่างกาย (ก่อนการเจ็บป่วยด้วย CM ในครั้งนี้, เมื่อเข้าโครงการ, สัปดาห์ที่ 10 และหลังจากหยุด

การรับประทานยา) และประเมินระบบประสาท (ณ.วันที่เข้าร่วมโครงการ, สัปดาห์ที่ 2, 10, 24 และเมื่อมีอาการ

แสดงมากขึ้นและเมื่อหยุดการรับประทานก่อนกำหนด

เพื่อประเมินระยะเวลาของการเสียชีวิตในแต่ละกลุ่ม และรวมอัตราของ DLT และการเสียชีวิต

2.3 เพื่ออธิบายถึงผลกระทบของอาการทางคลินิกพื้นฐาน, ระบบประสาท, ลักษณะเกี่ยวกับเชื้อราต่อลักษณะทางคลินิก

และความสำเร็จในการกำจัดเชื้อรา ที่สัปดาห์ที่ 10และระยะระหว่างที่ น้ำไขสันหลังปลอดจากเชื้อ

2.4 เพื่อประเมินระยะเวลาการครองเตียงในโรงพยาบาล ตั้งแต่เข้าร่วมโครงการจนกระทั่งหลังจำหน่ายออกจากรพ. และ

การกลับมานอนรพ.ซ้ำเพื่อรักษาโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบจาการติดเชื้อคริปโตคอคคัส

2.5 เพื่อประมวลผลอุบัติการณ์ที่เกิดอาการแสดงมากขึ้น และเกิดอาการต่างๆ ในระหว่างที่อาสาสมัครได้รับยาต้านไวรัส

ระหว่างเข้าร่วมในโครงการวิจัย

2.6 เพื่อประเมินรความทนทานต่อยา, ความเป็นพิษและประสิทธิภาพของยาสูตรยาที่ใช้ยา ampho B เป็นหลัก ในหน่วย

วิจัยที่อยู่นอกประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อการวางแผนในการศึกษาวิจัยเพิ่มเติม

2.7 เพื่อประมวลความสัมพันธ์ของความไวต่อยาฆ่าเชื้อรา ในการแยกเชื้อ cryptococcal ต่อ ยา fluconazole และผลทางจุล

ชีววิทยา และผลทางคลินิก

2.8 เพื่อประเมินระดับยาในกระแสเลือด(PK),และพิษของการใช้ยาฟลูโคนาโซลในระดับสูง และหาความสัมพันธ์

ระหว่างการใช้พร้อมกับยา RIF และ/หรือ EFV ในกรณีที่มีตัวอย่าง

ความสำคัญ (Significance)

เพื่อเป็นแนวทางในการ ให้การรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีโรคเยื้อหุ้มสมองอักเสบจากการติดเชื้อค ริปโตคอคคัสในอนาคต ในด้านการรักษาที่มีค่าใช้จ่ายน้อยลง สะดวกต่อการรักษาและมีประสิทธิภาพมากกว่ายามที่มีราคาแพงหรือยาที่มีอาการ ข้างเคียงมากว่า

ความก้าวหน้า ณ ปัจจุบัน (Progression) ;

นับตั้งแต่เปิดรับอาสาสมัครในcohort 1 (Flucoanzole 1200 mg วันละครั้งหรือ Ampho-B ขนาดมาตรฐาน) ตั้งแต่ 10 กุมภาพันธ์ 2253 และ คณะกรรมาธิการติตามการศึกษา( SMC) ได้ มีการปะชุมทบทวน ข้อมูลด้านจำนวน ความปลอดภัย และประสิทธิผล เมื่อ 28 กันยานยน 2554 สรุปได้ว่าไม่พบรายงานข้อมูลด้านความปลอดภัยและการดำเนินงานที่น่าเป็นห่วง แนะนำให้เปิดการรับอาสาสมัครใน cohort 2 (Flucoanzole 1600 mg วันละครั้งหรือ Ampho-B ขนาดมาตรฐาน) ต่อไปได้ การรับอาสามัครใน cohort 1 ครบเรียบร้อยและเปิดรับอาสามัครใน cohort 2 ตั้งแต่ 7 ตุลาคม 2554

ผลการศึกษาที่น่าสนใจ (Interesting findings)

- N/A

เอกสารที่ต้องการเผยแพร่(ถ้ามี) ( Publications)

- N/A

เชื่อมโยงไปยัง web site ของโครงการ(ถ้ามี) (Link to project’s web site)

https://www.actgnetwork.org/protocols/protocol_specific_search.aspx

( user and password required)

Post 1492 Views