Completed Studies.


ชื่อโครงการวิจัย : การศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลการรับรู้ทางระบบประสาทในกลุ่มประเทศที่มีทรัพยากรจำกัด

Study name : Collection of Comparison Neurocognitive Data in Resource-Limited Settings

 

เครือข่ายวิจัย (รหัสโครงการ) : A5271

Research network (Code) :A5271

หัวหน้าโครงการวิจัย : ศ.นพ. ขวัญชัยศุภรัตน์ภิญโญ

Principle investigator : Professor Khuanchai Supparatpinyo, MD

หัวหน้าโครงการวิจัยร่วม : พญ. พัชรพรรณสุคนธเวศ

Co-PI : Dr. Patcharaphan Sugandhavesa

หน่วยงานที่ร่วมวิจัย(Collaborators ) :

เครือข่ายการวิจัยทางคลินิกด้านโรคเอดส์ (AIDS Clinical Trial Group :ACTG Network)

แหล่งทุน (Funding agency) :

สถาบันโรคภูมิแพ้และโรคติดเชื้อแห่งชาติร่วมกบสถาบันสุขภาพจิตแห่งชาติประเทศสหรัฐอเมริกา

(The National Institute of Allergy and Infectious Diseases:NIAID and

The National Institute of Mental Health :NIMH)

สถานที่ทำการวิจัย (รวมต่างประเทศ) (Study sites):

มี 10 หน่วยวิจัยจาก 7 ประเทศคือประเทศเปรูมาลาวีอัฟริกาใต้บราซิลอินเดียซิมบับเวและประเทศไทย

ระยะเวลาเริ่มดำเนินงาน (เริ่ม intervention หรือเริ่ม enroll อาสาสมัคร) Study start

เริ่มปิดโครงการ : เปิดรับอาสามัครเข้าร่วมโครงการเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2554

เป้าหมาย : เปิดรับอาสาสมัครทังหมด 2400 คน ( step 1= 2400 and step 2 =800)

รูปแบบของงานวิจัย (Study design)

การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบ observational study ตรวจระบบประสาทและจิตประสาทในผู้ที่มีสุขภาพดีโดย

1 . การแบ่งกลุ่มเพื่อทำการศึกษา

ขนาดตัวอย่าง ( Sample size) ชายและหญิงอายุ ≥ 18 ปีจำนวน 2400 คน
การแบ่งชั้นภูมิ(Stratification) แบ่งเป็น 80 ชั้นภูมิโดยแบ่งตามหน่วยวิจัย (10 ระดับ) เพศ (2 ระดับ) อายุ (2 ระดับ) และปีการศึกษา (2 ระดับ)  แต่ละหน่วยวิจัยจะรับอาสาสมัครทั้งสิ้น 240 คนโดยแบ่งดังนี้

เกณฑ์การแบ่งชั้นภูมิของแต่ละหน่วยวิจัย ชาย (คน) หญิง(คน)
<อายุ 35 ปีการศึกษา 30 30
<อายุ 35 ปีการศึกษา ≥ 10 ปี 30 30
อายุ≥ 35 ปีการศึกษา 30 30
อายุ≥ 35 ปีการศึกษา ≥ 10 ปี 30 30

2 . วิธีการวิจัย

การศึกษานี้แบ่งเป็น 2 step

Step 1 : อาสาสมัครผู้เข้าร่วมการศึกษาจะได้รับการเชิญชวนให้ตรวจติดตามอีก1ครั้งในอีก 6 เดือน
Step 2: อาสาสมัครที่ได้รับเลือกให้เข้าใน step 2 จะได้รับการตรวจติดตามอีกครั้ง/ครั้งสุดท้ายในอีก 6 เดือนใน

คัดกรอง(Screening)

 

ภายใน 15 วัน

เข้าร่วมโครงการ step 1 ( Step 1 Entry)

มีอาสาสมัครเข้าร่วม 2400 คน ตามการแบ่งชั้นภูมิข้อ 1

เข้าร่วมโครงการ step 2 ( Step 1 Entry)

อาสาสมัคร 800 คนจาก step 1 ที่ได้รับเลือกตามการแบ่งชั้นภูมิข้อ 1 จะได้รับการตรวจซ้ำ (100 คนจากแต่ละกลุ่ม)

6 เดือน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย (วัตถุประสงค์หลักรอง)

  1. วัตถุประสงค์หลัก

เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเปรียบเทียบทางจิตประสาท (Neuropsychological) ในกลุ่มผู้ควบคุมคือผู้มีสุขภาพดีเพื่อใช้ในการแปรผลเกี่ยวกับข้อมูล Neuropsychological ในประเทศที่มีทรัพยากรจำกัด

  1. วัตถุประสงค์รอง

2.1. เพื่อศึกษาการกระจายของ Neuropsychological scoresในผู้มีสุขภาพดีไม่ติดเชื้อ HIV ในประเทศที่มี

ทรัพยากรจำกัด

2.2. เพื่อประเมินการปฏิบัติ / ผลการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับการประเมิน Neuropsychological ซ้ำในประเทศที่มี

ทรัพยากรจำกัด

ความสำคัญ (Significance)

ข้อมูลที่ได้จากการวิจัยนี้จะเป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานของกลุ่มควบคุมเพื่อใช้ในการแปรผลเปรียบเทียบในการศึกษาอื่นๆเกี่ยวกับ Neurocognitive ในประเทศที่มีทรัพยากรจำกัด

ความก้าวหน้าณปัจจุบัน (Progression)

ขณะนี้อยู่ในระหว่างการติดดามอาสามัครสำหรับหน่วยวิจัยประเทศไทยโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพได้ติดตามอาสามัครครบทั้งหมดครบแล้วเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2555

ผลการศึกษาที่น่าสนใจ (Interesting findings)

N/A

เอกสารที่ต้องการเผยแพร่ (ถ้ามี)

Publications

N/A

เชื่อมโยงไปยัง web site ของโครงการ (ถ้ามี)

Link to project’s web site

https://www.actgnetwork.org/protocols/protocol_specific_search.aspx

( user and password required)

Post 943 Views