โครงการวิจัย.

0367b56a4ae7ee28c6b620662a98af9f

หัวหน้าโครงการ         ศ.ดร.นพ. กิตติพันธุ์  ฤกษ์เกษม

ผู้ร่วมวิจัย

  1. อ.นพ.ดิเรก บรรณจักร
  2. นพ.ศุภโชค มาศปกรณ์
  3. อ.นพ.สุรเชษฐ์ วงษ์นิ่ม
  4. ผศ.นพ.เติมพงศ์ เรียนแพง
  5. น.พ.ชนาวิทย์ สิทธิสมบัติ
  6. ผศ.นพ.ศุภพงษ์ อาวรณ์

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

เปรียบเทียบผลลัพธ์ระหว่างกลุ่ม EPNT และกลุ่ม non EPNT ในด้าน

1.        การทำงานเส้น AVA ที่ดี

2.       อัตราการติดเชื้อ

3.       คุณภาพชีวิต

4.       อัตราการเกิด cardiovascular morbidity และเสียชีวิต

5.    ประเมินวิธีการประเมินเส้นฟอกไต (surveillance) ในแต่ละศูนย์ฟอกไต

ผู้ให้ทุน    สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)

สถานที่ดำเนินการวิจัย 

โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่-โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

รูปแบบงานวิจัย  

จากการเก็บข้อมูลของโรงพยาบาลมหาราชในปี 2556 จำนวน 114 คน พอให้เห็นภาพว่า  ผู้ป่วยในความเป็นจริงไม่ได้เป็นไปตามยังได้รับ  โอกาสสำเร็จของการทำ AVA ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ซึ่งเป็นสถาบันฝึกหัดด้านศัลยศาสตร์หลอดเลือดก็ยังต่ำคือร้อยละ 38 ดังนั้นผู้ป่วยเองหรือรัฐบาลต้องจ่ายเงินในการทำ AVA ใหม่ถึงร้อยละ 68 ดังนั้นระบบสุขภาพต้องการมี clinical practice guideline ที่ดี เพื่อให้โอกาสการทำเส้น AVA มีความสำเร็จสูง ลดความทุกข์ทรมานผู้ป่วย ลดการสูญเสียทางเศรษฐศาสตร์  ซึ่งระบบ EPNT คณะผู้ขอทุนได้พัฒนา ปรับปรุงมาจากระบบ Westmead System ของโรงพยาบาล Westmead Hospital ที่ Sydney ประเทศออสเตรีย พบว่าการทำเช่นนี้ทำให้เกิด AVA failure 0 %  ในช่วงที่ผ่านมา 5 ปีนี้  โดย Professor Swinnen ได้แนะนำ ให้คำปรึกษาในการศึกษานี้  และการศึกษานี้ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)

ระยะเวลา  1 กรกฏาคม 2562 ถึง 30 มิถุนายน 2563

Post 2390 Views