ศูนย์วิจัยชีวโมเลกุลและเซลล์วิทยา
รายละเอียดบุคลากร
ชื่อ: ดร.จีรัง ว่องตระกูล
ตำแหน่ง: นักวิจัยเชี่ยวชาญ
โทรศัพท์: 053-936148 ต่อ 240
Email: jeerang@gmail.com
- ประวัติการศึกษา
- ประวัติการทำงาน
- รางวัลที่เคยได้รับ
- งานวิจัย
- ผลงานวิจัยตีพิมพ์
- ผลงานวิจัย
ลำดับ | ปี | การศึกษา |
---|---|---|
1 | 2536 | ปริญญาตรี (เทคนิคการแพทย์)คณะเทคนิคการแพทย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
2 | 2539 | ปริญญาโท (Applied Molecular Biology of Infectious Diseases)London School of Hygiene & Tropical Medicine มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร |
3 | 2546 | ปริญญาเอก (อณูพันธุศาสตร์และพันธุวิศวกรรมศาสตร์)สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
ลำดับ | ปี | การทำงาน |
---|---|---|
1 | 2536 | นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ สังกัดสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
2 | 2539 | นักเทคนิคการแพทย์ สังกัดสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
3 | 2548 | นักวิจัย สังกัดสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
ลำดับ | ปี | รางวัล |
---|---|---|
1 | 2556 | Outstanding Abstract Award จากงานประชุม The 8th International Symposium of the Protein Society of Thailand |
งานวิจัยที่สนใจ และ โครงการวิจัย
- Molecular characterization and testing for HIV drug resistance - การจำแนกเชื้อเอชไอวี (HIV subtyping) และตรวจวัดปริมาณเชื้อเอชไอวี (HIV viral load)
ลำดับ | ชื่อ |
---|
โครงการวิจัย
ลำดับ | ปี | โครงการวิจัย |
---|---|---|
1 | 2003 | กรดอะมิโนสำคัญในโครงสร้างโปรตีน Glutathione S-Transferase ที่สามารถควบคุมการทำงานของเอนไซม์ |
2 | 2003 | การศึกษาคุณลักษณะและการทำลาย (metabolize) ยาฆ่าแมลงโดยเอนไซม์กลูตาไธโอนเอส-ทรานสเฟอเรสที่พบใหม่จากยุงก้นปล่อง (An.diros) |
3 | 2005 | ผลของโปรตีนวีพีอาร์จากเชื้อเอชไอวีไวรัสลูกผสมที่พบใหม่ในประเทศไทยต่อการทำลายตนเองของเซลล์เพาะเลี้ยงชนิดที-ลิมโฟไซท์ |
4 | 2008 | การศึกษาลักษณะการแสดงออกของโปรตีนในเซลล์เพาะเลี้ยงที-ลิมโฟไซด์ด้วยเทคนิค proteomics ในสภาวะที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวีจีพีโอเวียร์แซดต้นแบบชนิดเดี่ยว 3 ชนิด |
5 | 2009 | การควบคุมการสื่อสัญญาณของวิถีพี 38 โดยเอนไซม์กลูตาไธโอนทรานสเฟอเรส |
6 | 2011 | การศึกษารูปแบบการเเสดงออกของโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับความเป็นพิษต่อตับเนื่องจากการได้รับยาเนวิราพีนอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยและในเซลล์เพาะเลี้ยง HepG2 |
7 | 2012 | การศึกษารูปแบบการเเสดงออกของโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับความเป็นพิษต่อตับเนื่องจากการได้รับยาเนวิราพีนอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยและในเซลล์เพาะเลี้ยง HepG2 |