ศูนย์วิจัย

ศูนย์วิจัยโรคติดเชื้อและสารเสพติด

รายละเอียดบุคลากร

IMPAACT
พญ.ลินดา      เอื้อไพบูลย์

ชื่อ: พญ.ลินดา เอื้อไพบูลย์

หัวหน้า ศูนย์วิจัยโรคติดเชื้อและสารเสพติด
ตำแหน่ง: นักวิจัยเชี่ยวชาญ
โทรศัพท์: 053-936148 ต่อ 445
Email: linda.a@cmu.ac.th

  • ประวัติการศึกษา
  • ประวัติการทำงาน
  • รางวัลที่เคยได้รับ
  • งานวิจัย
  • ผลงานวิจัยตีพิมพ์
  • ผลงานวิจัย
ลำดับ ปี การศึกษา
1 2538 แพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล
2 2544 วุฒิบัตรเวชศาสตร์ครอบครัว
3 2544 สาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต School of Public Health, Johns Hopkins University
4 2544 วุฒิบัตรกุมารเวชศาสตร์ ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
5 2547 สาธารณสุขศาสตร์บัณฑิต (สาขาบริหารสาธารณสุข) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ลำดับ ปี การทำงาน
1 2538-2539 แพทย์เพิ่มพูนทักษะโรงพยาบาลสกลนคร
2 2539-2540 แพทย์ใช้ทุนสาขาเวชปฏิบัติทั่วไป โรงพยาบาลคำตากล้า อำเภอคำตากล้า จังหวัดสกลนคร
3 2541-2543 แพทย์ประจำบ้านสาขากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
4 2544-2547 กุมารแพทย์ประจำโรงพยาบาลฝาง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
5 2548-2552 แพทย์ประจำโครงการวิจัยเครือข่ายวิจัยมารดา เด็กและวัยรุ่น สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
6 2553-ปัจจุบัน นักวิจัยสังกัดสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ลำดับ ปี รางวัล
1 2551 ผลงานวิจัยระดับชมเชย จากสภาวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2551 จากผลงานวิจัยเรื่อง “ผลการรักษาผู้ป่วยเด็กด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวีในโครงการ “เข้าถึงยาเอดส์” ของประเทศไทย: ผลงานวิจัยจากภาระงานประจำ”
2 2554 รางวัลบุคลากรดีเด่นของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ (ประเภทพนักงานมหาวิทยาลัย)
งานวิจัยที่สนใจ และ โครงการวิจัย


ลำดับ ชื่อ

โครงการวิจัย
ลำดับ ปี โครงการวิจัย
1 0000 ผลของการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในครรภ์และการพัฒนาระบบประสาทในเด็กแรกเกิด ในการศึกษาแบบติดตามไปข้างหน้าตั้งแต่แรกคลอด
2 2009 IMPAACT P1083: A Phase II/III Trial of Lopinavir/ritonavir Dosed According to the WHO Pediatric Weight Band Dosing Guidelines
3 2005 Pediatric AIDS Clinical Trials Group (PACTG)
4 2008 IMPAACT 1077HS : HAART Standard Version of the PROMISE Study (Promoting Maternal and Infant Survival Everywhere)
5 0000 HIVNAT 121/SEARCH 012: A prospective study to compare brain volumes and Diffusion Tensor Imaging (DTI) in HIV-infected children from the immediate compared to deferred antiretroviral therapy arms of PREDICT and to HIV-negative healthy children (PREDICT Neuroimaging Substudy)
6 2011 การศึกษาเภสัชจลนศาสตร์และความปลอดภัยของยา Tenofovir ที่อยุ่ในสูตรยาต้านไวรัสเอชไอวีที่กินวันละครั้งในเด็กติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัสสูตรพื้นฐานและควบคุมปริมาณไวรัสได้แล้ว
7 2011 IMPAACT P1093: Phase I/II, Multi-Center, Open-Label Pharmacokinetic, Safety, Tolerability and Antiviral Activity of GSK1349572, a Novel Integrase Inhibitor, in Combination Regimens in HIV-1 Infected Infants, Children and Adolescents
8 2011 A5279: Phase III Clinical Trial of Ultra-Short-Course Rifapentine/Isoniazid for the Prevention of Active Tuberculosis in HIV-Infected Individuals with Latent Tuberculosis Infection.
9 2011 โครงการวิจัยการรักษาเด็ก/วัยรุ่นที่มีการติดเชื้อเอชไอวีด้วยยาต้านไวรัสสูตรแรกที่มีตัวยาทีโนโฟเวียร์ร่วมด้วย ภายใต้การสนับสนุนขององค์การเภสัชกรรม ประเทศไทย
10 2010 TASER-Pediatrics: Prospective Monitoring of Second-line Antiretroviral Therapy Failure and Resistance in Children
11 2012 โครงการวิจัยการรักษาเด็ก/วัยรุ่นที่มีการติดเชื้อเอชไอวีร่วมกับเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ภายใต้การสนับสนุนของมูลนิธิเพื่อการวิจัยโรคเอดส์ (amfAR)